พิมพ์ชื่อผู้ถวายพระไตรปิฎก
พิมพ์หนังสือธรรมะ แจกเป็นธรรมทาน ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน เบาะรองนั่งสมาธิ สถานที่ตั้ง ศูนย์จำหน่ายพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย ใหม่ล่าสุด ปกสีเหลือง
โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ราคา 15000 บาท

หนังสือพระไตรปิฎกชุดนี้เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ใหม่ โดย มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย และทางศูนย์จะส่งพระไตรปิฎกได้เริ่มจัดส่งเมื่อปี 2565 เป็นต้นมา


ดำเนินการจัดส่งทั่วประเทศ โดย บริษัทขนส่งทั่วไทย โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ตั้งอยู่เลขที่ 19/10 หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม
(ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระ)
ในซอยวัดญาณเวศกวัน เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น.
โทร.02-482-7358, 086-461-8505,087-696-7771, 02-482-7093
LINE : @TRILAKBOOKS

รีวิวหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ฉบับล่าสุด

#ฐานรองพระไม้สัก #แท่นวางพระ #โต๊ะวางพระพุทธรูป #รับสั่งทำฐานพระ #ฐานวางพระ #ฐานพระบูชา #แท่นวางพระ #ฐานพระพุทธรูป #ฐานรองพระบูชา #ฐานรองพระพุทธรูป #ฐานวางพระพิฆเนศ #แท่นรองสิ่งศักดิ์สิทธิ์ #ฐานเสริมองค์พระพุทธรูป
กิจกรรม ภาพการจัดส่งพระไตรปิฎก ทั่วประเทศ

บริจาคเงิน COVID

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 91 เล่ม ครบสมบูรณ์

เกร็ดความรู้ เกี่ยวกับพิธีการทำบุญและอนุโมทนาวิธี

พระพุทธรูปปางสมาธิ พระพุทธรูปปางชนะมาร และพระพุทธรูปแบบต่างๆ

หนังสือธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส ภิกขุ ครบชุด 81 เล่ม
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก

หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท
กลุ่มหนังสือสำหรับพระภิกษุ
พระไตรปิฎก-แบบเรียน-นักธรรม-ตรี-โท-เอก



ศูนย์จัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎก
ไตรลักษณ์ตั้งอยู่เลขที่ 19/10 
หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม

ศูนย์จัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎก
ไตรลักษณ์
ตั้งอยู่เลขที่ 19/10
หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม
(ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระ)
ในซอยวัดญาณเวศกวัน เปิดบริการทุกวัน
ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น.

086-461-8505,
087-696-7771,


E-mail : trilak_books@yahoo.com



#และเพื่อความรวดเร็วในการสนทนา
ช่องทางการติดต่อทาง/ #สั่งซื้อทางLine
~สั่งพิมพ์หนังสือเพื่อแจกเป็นธรรมทาน
~สั่งชุดพระไตรปิฎกแบบต่างๆ

👨🏻‍💻 #LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ

https://
line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

หนังสือแบบเรียนนักธรรม สำหรับพระภิกษุสงฆ์และสามเณร


การสั่งสินค้าและผลิตภัณฑ์

สำหรับท่านที่ประสงค์จะสั่ง ตู้พระไตรปิฎก
และหนังสือพระไตรปิฎก
หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ

สามารถ ทำได้ดังนี้ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ได้ที่

087-696-7771 086-461-8505
หรือส่ง mail มาที่

trilak_books@yahoo.com


#และเพื่อความรวดเร็วในการสนทนา
ช่องทางการติดต่อทาง/ #สั่งซื้อทางLine
~สั่งพิมพ์หนังสือเพื่อแจกเป็นธรรมทาน
~สั่งชุดพระไตรปิฎกแบบต่างๆ

👨🏻‍💻 #LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me
/R/ti/p/%40trilakbooks



1.เขียน ชื่อ ผู้ติดต่อ + เบอร์ติดต่อกลับ

2.ชื่อตู้พระไตรปิฎก (หรือแนบภาพ)

3.แจ้งชื่อหนังสือพระไตรปิฎก (หรือแนบภาพ)

4. หากมีข้อความ แทรก ผู้จัดพิมพ์ถวายหนังสือฯ
สามารถแนบมาได้ในคราวเดียวกัน

5.สถานที่จัดส่ง แบบละเอียดเพื่อให้ศูนย์หนังสือฯ
ประเมินค่าจัดส่งได้ต่อไป
ซึ่งจัดส่งโดยบริษัทขนส่งที่พร้อมดูแล
จัดส่งได้ทั่วประเทศ

 

พิมพ์หนังสือธรรมะ, หนังสือที่ระลึก,

ดำเนินการจัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎกทั่วไทย
โดยศูนย์หนังสือไตรลักษณ์
ดำเนินการจัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎกทั่วไทย
โดยศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

..........................................................
หนังสือพุทธธรรม-700บาท


หมวดหมู่ผลิตภัณฑ์


หนังสือพระไตรปิฎกทุกแบบ


หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
ภาษา ไทย ราคา 15,000.-


หนังสือพระไตรปิฎก 91 เล่ม
ภาษา ไทย ราคา 25,000.-


หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ ส.ธรรมภักดี จำนวน 100 เล่ม

ภาษาไทย ราคา 18000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย)
หนังสือพระไตรปิฎก 100 เล่ม ส.ธรรมภักดี
(ภาษาไทย) ราคา 18,000.-


อรรถกถาภาษาไทย (มจร)
อรรถกถาภาษาไทย (มจร)


หนังสือพระไตรปิฎก สยามรัฐภาษาไทย
ราคามูลนิธิ 15500 บาท

หนังสือพระไตรปิฎก 45 
ภาษาบาลี ราคา 13,000.-
หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
ภาษาบาลี อักษรไทย ราคา 13,000.-


พระไตรปิฎก ฉ. ประชาชน (ไทย)
1 เล่มจบ ย่อจาก 45 เล่ม บาลี 500.-



หนังสือคัมภีร์วิสุทธิมรรค แปลไทย

หนังสือวิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น

เล่าไว้เมื่อวัยสนทยา

หนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ราคาเล่มละ 700 บาท
พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (ล่าสุด)


แบบตู้พระไตรปิฎกทั้งหมด

ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี



ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย



ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย



ตู้พระไตรปิฎก ฉบับแก่นธรรม

 



ตู้หนังสือ ทั่วไป

 

 

ชุดพระมาลัยคัมภีร์แผ่นพับ พร้อมกล่องบรรจุลงรักปิดทองทั้งหลัง ราคา 6500 บาท
ชุดพระมาลัยคัมภีร์แผ่นพับ พร้อมกล่องบรรจุลงรักปิดทองทั้งหลัง ราคา 6500 บาท



หีบบรรจุ พร้อมกับ
คัมภีร์ พระมาลัย (พระอภิธรรม) 5,000.-

ชุด พระคัมภีร์ ใบลาน เทศน์มหาชาติ ธรรมวัตร 

ราคา ทั้งชุด 4,700.- บาท

(ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย โดยบริษัทขนส่งทั่วประเทศ)
หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ ธรรมวัตร 4,700.-



หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ ทำนองภาคกลาง
สำหรับ วัดพระอารามหลวง 5,000.-


ชุด พระคัมภีร์ ใบลาน เทศน์มหาชาติ ภาคอีสาน ราคา ทั้งชุด 5,000.- บาท

(ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย โดยบริษัทขนส่งทั่วประเทศ)

หรือ ที่เรียกว่า ลำมหาชาติ เป็น เทศน์มหาชาติภาคอีสาน 
ที่บรรจงสรรสร้างขึ้นจากใบลานริมทอง แท้ อย่างดี

พร้อมหีบบรรจุ แบบลงรักปิดทองสวยงาม ทำให้ผู้ที่สนใจศึกษา
หรือจะถวายพระภิกษุ ในงานพิธีสงฆ์ มีความรู้สึกปลาบปลื้มยินดี
ที่จักได้รับ พระคัมภีร์ชุดนี้ ไว้ศึกษาต่อไป
หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ มหาชาติ
ลำมหาชาติ (ภาคอีสาน) 5,000.-


ต้นไม้ตรัสรู้-งานหัตถกรรมจากเนื้อโลหะ-ลงรักปิดทอง
 
ดอกบัว-ลงรักปิดทอง-ประดับกระจกคละสี-2200บาท
ใบโพธิ์ทอง

ใบโพธิ์สีทอง

 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทยปกใหม่ล่าสุด พิมพ์ครั้งใหม่ล่าสุด ปกสีเหลืองปั้มทอง ที่จัดพิมพ์โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 45 เล่ม 15000 บาท

รายละเอียด และ รายชื่อ หนังสือพระไตรปิฎก
45 เล่ม ภาษาไทย
ปกสีเหลือง ใหม่ล่าสุด 15,000.-

คัมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนาที่พระพิสุสามเณร
และพุทธศาสนิกชนใช้ศึกษาเล่าเรียนเป็นหนังสือชุดมาตรฐาน

ราคามูลนิธิของ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 1 5,000 บาท
ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย

พระไตรปิฎกภาษาไทย
รายละเอียด และ รายชื่อ หนังสือพระไตรปิฎก
ภาษาไทย ทั้ง 45 เล่ม โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฯ
เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

หนังสือพระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทั้ง ๔๕ เล่ม จัดพิมพ์ พ.ศ.๒๕๓๙ (เป็นหนังสือปกแข็ง สีเหลือง ตัวอักษรปั้มทอง)
ISBN : 974 - 575 - 369 - 6

ขนาดของเล่ม ๑๘.๒ x ๒๕.๗ cm.
หนังสือทั้งชุด 45 เล่ม
มีจำนวน 4 กล่อง (ที่พิมพ์โดย มหาจุฬาลงณฯ)
ราคามูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

15,000.- บาท

---------------------------------------------------
สำหรับท่านที่จะให้ห่อปกพลาสติก
แบบสั่งตัดพิเศษ ทั้งชุด 45 เล่ม
กรุณาแจ้งเจ้าหน้าที่ เพิ่มเติม ด้วยนะครับ 
ค่าจัดทำ ห่อปกสั่งตัดพิเศษ 1000 บาท (ทั้งชุดครับ)

--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---

--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---

ดำเนินการจัดส่ง โดย 
"ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์"

--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
ช่องทางติดต่อ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม / สั่งซื้อ / ส่งสลิปการโอนเงิน

สั่งซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ผ่าน LINE
สามารถสั่งซื้อ โดยตรง ที่ LINE@ ได้โดยตรงที่
LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

 

ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดกับเจ้าหน้าที่ของศูนย์เพิ่มเติม


สามารถโทร.สอบถามรายละเอียดอื่นๆได้ที่
086-461-8505, 02-482-7358, 087-696-7771


ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดกับเจ้าหน้าที่
เรื่องลายละเอียดผลิตภัณฑ์ สอบถามสินค้าอื่นๆ สอบถามข้อสงสัย
รวมถึง เรื่อง การจัดส่ง ไปยังสถานที่ต่างๆทั่วประเทศ
โดยปกติ ที่ศูนย์สามารถดำเนินการจัดส่ง ไปถึงวัด
หรือสถานปฏิบัติธรรม และบ้านพักอาศัย ตามที่ลูกค้าต้องการ


--- --- --- --- --- --- ---


ท่านสามารถมาชม ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด ด้วยตนเอง
ที่สถานที่ตั้ง ของศูนย์ ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น
ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ตั้งอยู่ ที่
พุทธมณฑล สาย 4 ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระยืน
ติดกับกำแพง วัดญาณเวศกวัน


สิ่งอำนวยความสะดวก
มีสถานที่จอดรถกว้าง มีร้านกาแฟ ขนมว่าง

แผนที่มายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์
แผนที่สำหรับเดินทาง Google maps
https://goo.gl/maps/Bym61zuguLE2

สำหรับท่านที่จะให้ห่อปกพลาสติกแบบสั่งตัดพิเศษ ทั้งชุด 45 เล่ม
กรุณาแจ้งเจ้าหน้าที่ เพิ่มเติม ด้วยนะครับ 
ค่าจัดทำ ห่อปกสั่งตัดพิเศษ 1000 บาท (ทั้งชุดครับ)

 

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่มชุดนี้ คือหนังสือพระไตรปิฎก 
ที่ถูกแปลมาจาก พระไตรปิฎก ภาษามคธ ฉบับ มหาจุฬาเตปิฎก 
โดยมีวัตถุประสงค์ ให้ พระภิกษุ สามเณร และ 
บุคคลผู้สนใจศึกษาพระไตรปิฎกได้เข้าใจเนื้อหาในพระไตรปิฎก ได้ง่ายยิ่งขึ้น 


มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 
ได้ดำเนินการการแปลพระไตรปิฎกภาษามคธ เป็นภาษาไทย

โดยตั้งคณะกรรมการหลายผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แปลเป็นภาษาไทยและตรวจทาน ร่วมกัน
โดยใช้เวลาดำเนินการแปลจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือเป็นระยะเวลา ๕ ปี ๒ เดือน ๑๐ วัน
จนสำเร็จเป็นรูปแบบเล่ม และได้เรียกพระไตรปิฎกชุดนี้ว่า 
"หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย"


พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ชุดนี้
นับว่าเป็นพระไตรปิฎกที่จัดพิมพ์เป็นฉบับล่าสุด และทันสมัย 
เป็นฉบับที่คนสมัยเก่าก็อ่านได้ คนสมัยใหม่ก็อ่านดี 
และเป็นฉบับที่นักปราชญ์ราชบัณฑิตยอมรับมากที่สุด 
และเป็นที่นิยม ที่พุทธศาสนิกชนได้นำ พระไตรปิฎก ชุดนี้ 
ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ เพื่อศึกษาพระพุทธศาสนา ที่เป็นแก่นหลัก
ของศาสนา ได้นำมาอธิบายให้ประชาชนทั่วไป 
ได้เข้าใจได้ง่ายขึ้นไปอีก ชุดหนึ่ง

 

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หมายเลขเล่ม ใน หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

เนื้อหา หนังสือพระไตรปิฎก แต่ละเล่ม ทั้ง 45 เล่ม

พระวินัยปิฎก มหาวิภัง ภาค1
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 1

อธิบายสิกขาบทในปาติโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์
(กฎหรือข้อบังคับ ที่เป็นหลักใหญ่สำหรับพระภิกษุ)
๑๙ ข้อแรกซึ่งอยู่ในระดับอาบัติหนักหรือความผิดสถานหนัก
คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส และอนิยต

 

พระวินัยปิฎก มหาวิภัง ภาค2
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 2

อธิบายสิกขาบทในปาติโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์
ข้อที่เหลือ ซึ่งอยู่ในระดับอาบัติเบา
หรือความผิดสถานเบา คือ ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์
จนครบสิกขาบท ๒๒๗ หรือ ศีล ๒๒๗

 

พระวินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 3

พระวินัยปิฎก เล่ม 1-2 จะพูดถึง บทบัญญัติของภิกษุสงฆ์
ที่เรียกกันว่า ภิกขุปาติโมกข์ ถือว่าเป็นศีลของภิกษุ
มาในเล่มที่ 3 นี้ คือ พระวินัยของภิกษุณี
อธิบายสิกขาบท ๓๑๑ ของภิกษุณี ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ทั้งหมด
ที่เรียกโดยรวมว่า "ภิกษุนีปาติโมกข์"

 

พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 4

พระไตรปิฎก มหาวรค มี 2 ภาค แบ่งเนื้อหาออกเป็น 10 ขันธกะ
มหาวรรค ทั้ง 2 ภาค มีเนื้อหา ว่าด้วยระเบียบปฏิบัติ
ขนบธรรมเนียบประเพณีสงฆ์ เรียกโดยรวมว่า "อภิสมาจาริกสิกขา"
ไม่ได้เป็นสิกขาบทบัญญัติ ไม่ได้มาในพระปาติโมกข์
สงฆ์ไม่ต้องยกขึ้นแสดงทุกครึ่งเดือน

 

เพระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 5

อธิบายสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนต้น
(ต่อ) มี ๖ ขันธกะ (หมวด)
ที่ว่าด้วยเรื่องระเบียบปฏิบัติ
ขนบธรรมเนียบ ประเพณีสงฆ์
คือ เรื่องเครื่องหนัง เภสัช กฐิน จีวร นิคคหกรรม
และการทะเลาะวิวาทและสามัคคี

 

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 1
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 6

จูฬวรรค แปลว่า หมวดเล็ก
หมายถึง หมวดที่ว่าด้วยเรื่อง เบ็ดเตล็ด
อธิบายสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนปลาย มี ๔ ขันธกะ คือ 
เรื่อง นิคคหกรรม วุฏฐานวิธีและการระงับอธิกรณ์

 

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค ๒
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 7

อธิบายสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนปลาย (ต่อ) มี ๘ ขันธกะ คือ
เรื่องข้อบัญญัติปลีกย่อย เรื่องเสนาสนะ สังฆเภท วัตรต่างๆ
การงดสวดปาติโมกข์ เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนา
ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒
เรื่องที่กล่าวเหล่านี้ เป็นเรื่องเล็กน้อย ในกรณีที่เป็นข้อห้าม
ถ้าภิกษุล่วงเกิน ไม่ปฏิบัติตาม ทรงปรับอาบัติทุกกฏ
ปรับจูงขึ้น ไปจนถึง ถุลลัจจัย

 

พระวินัยปิฎก ปริวาร
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 8

อธิบายคู่มือถามตอบซ้อมความรู้พระวินัย
คำว่า "ปริวาร" หมายถึง หมวดพระบาลี
ที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ ยกขึ้นสังคายนาต่อจาก
พระบาลีขันธกะ ที่จัดเป็นหมวดหมู่ไว้ เพื่อให้กุลบุตร
เกิดความฉลาดในส่วนต่างๆ มีอาบัติเป็นต้น
ที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งในมาติกา และ วิในวิภังค์ เรียกว่า
ขันธกะ ดุจพระอรหันตขีณาสพ เป็นบริวารติดตาม
พระพุทธองค์

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สัลขันธวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 9

อธิบายพระสูตรขนาดยาว ๑๓ สูตร เริ่มด้วย พรหมชาลสูตร
(หลายสูตรกล่าวถึงความพร้อมด้วยสีลขันธ์ ซึ่งบางทีก็จำแนก
เป็นจูลศีลมัชฌิมศีลมหาศีลจึงเรียกว่าสัลขันธวรรค)

 

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 10

อธิบายพระสูตรขนาดยาว ๑๐ สูตร ส่วนมากชื่อเริ่มด้วย
“มหา” เช่น มหาปรินิพพานสูตร มหาสมยสูตร
มหาสติปัฏฐานสูตร เป็นต้น

ใจความสำคัญของพระสูตรนี้ แบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ตรัสเล่าประวัติโดยสังเขป
ของพระเจ้าในอดีต 6 พระองค์ และของพระองค์เอง
ตอนที่ 2 ตรัสเล่าพระประวัติของพระพุทธเจ้า
พระนามว่า วิปัสสี โดยพิสดาร แต่พระองค์เดียว

 

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 11

อธิบายพระสูตรขนาดยาว ๑๑ สูตร เริ่มด้วยปาฎิกสูตร
หลายสูตรมีชื่อเสียง เช่น จักกวัตติสูตร อัคคัญญสูตร สิงคาลกสูตร
และสังคีติสูตร

พระไตรปิฎก เล่มที่ 11 คือพระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ซึ่งเป็นคัมภีร์ เล่มที่ 3 ของทีฆนิกาย และ
ของพระสุตตันตปิฎก คัมภีร์ทีฑนิกาย มี 3 เล่มด้วยกัน

 

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 12

อธิบายพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตร บางสูตรอาจจะคุ้นชื่อ
เช่น ธัมมทายาทสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร สติปัฏฐานสูตร
รถวินีตสูตร วีมังสกสูตร

พระไตรปิฎก เล่มที่ 12 คือ มัชฌิมนิ มูลปัณณาสก์
ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่หนึ่งในจำนวน 3 คัมภีร์แห่ง มัชฌิมนิกาย


พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 13

อธิบายพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตร ที่อาจจะคุ้นชื่อ เช่น
เสขปฏิปทาสูตร ชีวกสูตร อุปาลิวาทสูตร รัฏฐปาลสูตร รถวินีตสูตร
อังคุลิมาลสูตร ธัมมเจติยสูตร เป็นต้น

 

เล่ม ๑๔ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 14

อธิบายพระสูตรขนาดกลาง ๕๒ สูตร มีเนื้อหาแตกต่างกันหลากหลาย เช่น
เทวทหสูตร อานาปานสติสูตร กายคตาสติสูตร ภัทเทกรัตตสูตร จูฬกัมมวิภังคสูตร
ปุณโณวาทสูตร

 

 

เล่ม ๑๕ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 15
อธิบายคาถาภาษิตที่ตรัสและกล่าวตอบบุคคลต่างๆ เช่น
เทวดา มาร ภิกษุณี พราหมณ์ พระเจ้าโกศล เป็นต้น จัดเป็นกลุ่มเรื่องตามบุคคล
และสถานที่มี ๑๑ สังยุต

 

เล่ม ๑๖ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 16
อธิบายเหตุและปัจจัย คือ หลักปฏิจจสมุปบาท
นอกนั้นมีเรื่องธาตุการบรรลุธรรม สังสารวัฏ ลาภสักการะ เป็นต้น จัดเป็น ๑๐ สังยุต

 

เล่ม ๑๗ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 17

อธิบายขันธ์ ๕ ในแง่มุมต่างๆ มีเรื่องเบ็ดเตล็ดรวมทั้งเรื่อง
สมาธิ และทิฏฐิต่างๆปะปนอยู่บ้าง จัดเป็น ๑๓ สังยุต

 

เล่ม ๑๘ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 18
อธิบายอายตนะ ๖ ตามแนวไตรลักษณ์ เรื่องอื่นมีเบญจศีล
ข้อปฏิบัติให้ถึงอสังขตะ อันตคาหิกทิฏฐิ

 

เล่ม ๑๙ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค (๘๗๖ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 19
อธิบายโพธิปักขิยธรรม ๓๗ แต่เรียงลำดับเป็นมรรค
โพชฌงค์ สติปัฏฐาน อินทรีย์ สัมมัปปธาน พละ อิทธิบาท
รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่น อริยสัจ ฌาน
ตลอดถึงองค์คุณของพระโสดาบันและอานิสงส์ของกา
รบรรสุโสดาปัตติผล จัดเป็น ๑๒ สังยุต

 

เล่ม ๒๐ พระสุตตันตปิฎก อันคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาตร
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 20
อธิบายธรรม หมวด ๑ (เช่น จิต, ความไม่ประมาท ฯลฯ
รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ)
อธิบายธรรมหมวด ๒ (เช่น สุข ๒, บัณฑิต ๒, ฯลฯ)
อธิบายหมวด ๓ (เช่น อธิปไตย ๓, สิกขา ๓ ฯลฯ)


เล่ม ๒๑ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 21
อธิบายธรรม หมวด ๔ (เช่น อริยธรรม หรืออารยธรรม๔,
พุทธบริษัท ๔, ปธาน๔, อคติ ๔, สังคหวัตถุ ๔ ฯลฯ)

 

เล่ม ๒๒ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 22
อธิบายธรรม หมวด ๕ (เช่น พละ ๕, นิวรณ์
๕, อภิณหปัจจเวกขณะ ๕, นักรบ ๕ ฯลฯ)
อธิบายธรรม หมวด ๖ (เช่น สาราณียธรรม ๖, อภัพพฐาน ๖, ฯลฯ)

 

เล่ม ๒๓ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 23
อธิบายธรรม หมวด ๗ (เช่น อริยทรัพย์ ๗ ภรรยา ๗ ฯลฯ)
อธิบายธรรมหมวด ๘ (เช่น โลกธรรม ๘ ทานวัตถุ ๘ สัปปุริสธรรม ๘ ฯลฯ)
อธิบายธรรม หมวด ๙(อาฆาตวัตถุ ๙ นิพพานทันตา ๙ ฯลฯ)

 

เล่ม ๒๔ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 24
อธิบายธรรม หมวด ๑๐
(เช่น สังโสยชน์ ๑๐ นาถกรณธรรม ๑๐ วัฑฒิธรรม ๑๐ ฯลฯ)
อธิบายธรรมหมวด ๑๑
(เช่น ลักษณะของผู้มีศรัทธา ๑๑ ประการ, อานิสงส์เมตตา ๑๑ ฯลฯ)

 

เล่ม ๒๕ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 25
กล่าวถึงคัมภีร์ ๕ คือ ขุททกปาฐะธัมมบท
อุทาน อิติวุตตกะ และสุตตนิบาท

อธิบาย ๕ คัมภีร์ คือ (๑) ขุททกปาฐะ
รวมบทสวดย่อยๆ เช่น มงคลสูตร รตนสูตร (๒) ธัมมบท

มี ๔๒๓ คาถา (๓) อุทาน พระสูตรแสดงคาถาพุทธอุทานร้อยแก้ว
๘๐ เรื่อง (๔) อิติวุตตกะ เชื่อมความเข้าสู่

คาถาด้วยคำว่า “อิติวุจฺจจิ” รวม ๑๑๒ สูตร
(๕) สุตตนิบาต ชุมนุมพระสูตรชุดพิเศษ คาถาล้วน รวม ๗๑ สูตร

 

เล่ม ๒๖ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 26
กล่าวถึง ๔ คัมภีร์ คือ วิมานวัตถุ เปตวัตถุ
เถรคาถาและเถรีคาถา

อธิบายคัมภีร์ย่อย ซึ่งร้อยกรองคือคาถาล้วน ๔ คัมภีร์
คือ (๑) วิมาน เล่าการทำความของตนในอดีต ๘๕ เรื่อง

(๒) เปตวัตถุ เรื่องเปรตเล่ากรรมชั่วในอดีตของตน ๕๑ เรื่อง
(๓) เถรคาถา คาถาของพระอรหันต์ ๒๖๔ รูป (๔) เถรีคาถา
คาถาของพระอรหันตเถรี ๗๓ รูป

 

เล่ม ๒๗ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 27

อธิบายบทร้อยกรองคือคาถาแสดงคติธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสเมื่อครั้งยังเป็น
พระโพธิสัตว์ในอดีตชาติและมีคาถาภาษิตของผู้อื่นปนอยู่บ้าง
ภาคแรก ตั้งแต่ เอกนิบาต-จัตตาฬีสนิบาต รวม ๕๒๕ เรื่อง

 

เล่ม ๒๘ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 28
อธิบายคาถาอย่างในภาค ๑ นั้น เพิ่มอีก แต่เป็นเรื่องอย่างยาว
ตั้งแต่เรื่องมี ๕๐ คาถา
ถึงเรื่องมีคาถามากมาย ซึ่งมี ๑,๐๐๐ คาถา มี ๒๒ เรื่อง

 

เล่ม ๒๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 29

อธิบายภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตร
ในอัฏฐกวรรคแห่งสุตตนิบาต

เล่ม ๓๐ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 30
อธิบายภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตร
ในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตรในอุรควรรคแห่งสุตตนิบาต

 

เล่ม ๓๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏสัมภิทามรรค (๙๕๐ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 31
อธิบายภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งต่างๆ เช่นเรื่องญาณ
ทิฏฐิ อานาปานะ อินทรีย์ เป็นต้อนอย่างพิสดาร เป็นทางแห่งปัญญาแตกฉาน

 

เล่ม ๓๒ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 32
อธิบายบทประพันธ์ร้อยกรอง (คาถา) แสดงประวัติพระอรหันต์ โดยเฉพาะในอดีตชาติ
เริ่มด้วยพุทธอปทาน ปัจเจกพุทธอปทาน ต่อด้วยเถรอปทาน เริ่มแต่พระสารีบุตร
พระมหาโมคคัลลานะ ฯลฯพระอานนท์ ต่อเรื่อยไป รวม ๔๑๐ รูป

 

เล่ม ๓๓ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 33
(๑)อธิบายเถรอปทานประวัติพระอรหันต์เถระต่ออีกจนรถึงรูปที่ ๕๕๐ ต่อนั้น
เป็นเถรีอปทานแสดงเรื่องราวของพระอรหันตเถรี ๔๐ เรื่อง
เริ่มด้วยพระเถรีที่ไม่คุ้นนาม ๑๖ รูป ต่อด้วยพระเถรีที่สำคัญ
พระมหาปชาปดีโคตรมี พระเขมาและท่านอื่นๆ ต่อไปจนจบ
(๒) อธิบายพระพุทธวงส์ เป็นคาถาประพันธ์พระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์
รวมถึงประวัติของพระองค์เอง รวมเป็นพระพุทธเจ้า ๒๕ พระองค์
(๓) อธิบายจริยาปิฎก แสดงพุทธจริยาในอดีตชาติ ๓๕ เรื่อง

 

เล่ม ๓๔ อภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 34
อธิบายมาติกา (แม่บท) อันได้แก่บทสรุปแห่งธรรมทั้งหลายที่จัดเป็นชุดๆ
เช่น จัดทุกสิ่งทุกอย่างประดามีเป็นกุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากฤตธรรม
จัดทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสังขตธรรม อสังขตธรรมชุดหนึ่ง
โลกียธรรม โลกุตตรธรรมชุดหนึ่ง
เป็นต้น รวมทั้งหมดมี ๑๖๔ มาติกา

 

เล่ม ๓๕ อภิธรรมปิฎก ภาษาไทย วิภังค์ (๘๒๒ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 35
อธิบายหลักธรรมสำคัญ๐ ขึ้นมาแจกแจงแยกแยะอธิบายกระจายออกให้เห็นทุกแง่
และวินิจฉัยจนชัดเจรจบไปเป็นเรื่องๆ ๑๘ เรื่อง เช่น ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒
และ ธาตุ ๑๘ และปุคคลบัญญัติ

 

เล่ม ๓๖ อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา (๔๑๒ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 36

(๑)อธิบายธาตุกถา คำอธิบายเรื่องธาตุ เป็นคัมภีร์ที่พระผู้มีพระภาคทรง
นำสภาวธรรมแม่บทที่เรียกว่ามาติกาจำนวน ๓๗๑ บท เกี่ยวกับธาตุ ๔
ธาตุ ๖ และธาตุ ๑๘ และ (๒) อธิบายปุคคลบัญญัติกล่าวถึงการ
บัญญัติบุคคลตามคุณธรรมที่มีในบุคคลนั้น จัดเป็นพวกๆ และอธิบายให้เห็นลักษณะอาการ

 

เล่ม ๓๗ อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ (๑,๑๒๐ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 37
อธิบายคัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระประธานการสังคายนาครั้งที่ ๓
เรียบเรียงขึ้นเพื่อแก้ความเห็นผิดของนิกายต่างๆ ซึ่งได้แตกแยกกันออกไปแล้วถึง ๑๘ นิกาย
เป็นคำปุจฉาวิสัชนามีทั้งหมด ๒๑๙ กถา

เล่ม ๓๘ อภิธรรมปิฎก ยมก ภาค ๑ (๙๙๔ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 38
อธิบายคัมภีร์อธิบายหลักธรรมสำคัญด้วยวิธีตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ๆ
(ยมก แปลว่า คู่) เช่นถามว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศล เป็นกุศลมูล เกี่ยวกับ
มูล (เช่น กุศลมูล) ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ สังขาร อนุสัย
ถามตอบอธิบายเรื่องใด ก็เรียกว่ายมกของเรื่องนั้นๆ

 

เล่ม ๓๙ อภิธรรมปิฎก ยมก ภาค ๒ (๗๕๐ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 39
อธิบายการถามการตอบอธิบายหลักธรรมเพิ่มเติมจากภาค ๑
อีก ๓ เรื่อง คือ จิตตยมก ธัมมยมก (กุศล-อกุศล-อัพยากตธรรม)
อินทรียยมก บรรจบเป็น ๑๐ ยมก

 

เล่ม ๔๐ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๑ ปัฏฐาน (๑,๐๖๒ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 40
อธิบายปัจจัย ๒๔ แสดงความสัมพันธ์อิงอาศัยเป็นปัจจัย
แก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแง่ด้านต่างๆ
คือแม่บทหรือบทสรุปธรรม แต่อธิบายเฉพาะ ๑๒๒ มาติกา
เล่มแรกนี้ อธิบายความหมายของปัจจัย ๒๔

 

เล่ม ๔๑ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๒ (๗๔๗ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 41
อธิบายอนุโลมติกปัฏฐาน
คืออธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๓
ต่อจากเล่ม ๔๐ เช่นอดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่ปัจจุบันนธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย (พิจารณารูป เสียง เป็นต้น
ที่ดับเป็นอดีตไปแล้ว ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา เกิดความโทมนัสขึ้น ฯลฯ) เป็นต้น

 

เล่ม ๔๒ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๓ (๕๖๒ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 42
อธิบายอนุโลมทุกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน
แห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา)
เช่น โลกียธรรมเป็นปัจจัยแก่โลกียธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย (รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ )
ดังนี้ เป็นต้น

 

เล่ม ๔๓ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๔ (๗๔๒ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 43
อธิบายอนุโลมทุกปัฏฐานต่อ

เล่ม ๔๔ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๕ (๙๔๐ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 44

อธิบายอนุโลมปัฏฐาน แต่อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน
แห่งธรรมในแม่บทต่างๆ ข้ามชุดกันไปมา ประกอบด้วย
อนุโลมทุกติกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา)
โยงกับธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา)

 

เล่ม ๔๕ อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๖ (๘๐๖ หน้า)
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 45
อธิบายปัจจนียปัฏฐาน คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน
แห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อนๆ นั่นเอง
แต่อธิบายแง่ปฏิเสธ แยกเป็นปัจจนียปัฏฐาน
คือ ปฏิเสธ+ปฏิเสธ เช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร
อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน คือ อนุโลม+ปฏิเสธ

เช่นว่า อาศัยโลกิยธรรม ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม
เกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน
คือ ปฏิเสธ+อนุโลม 

เนื้อใน หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ล่าสุด

สถานที่จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกทั่วประเทศ

ภาพงานพิธี ถวายพระไตรปิฎก

ภาพงานพิธี ถวายพระไตรปิฎก และ ถวายตู้พระไตรปิฎก โดยคณะเจ้าภาพผู้มีจิตศรัทธา
ได้ใช้สถานที่ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก
เป็นที่ถวายตู้และหนังสือพระไตรปิฎกในราคามูลนิธิ โดย ได้นิมนต์พระสงฆ์ 9 รูปมาเป็นผู้รับพระไตรปิฎก
โดยทางศูนย์ได้เป็นผู้สนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่ในการทำพิธีถวายพระไตรปิฎกในครั้งนี้
สำหรับท่านใดมีความประสงค์จะขอใช้สถานที่ในการถวายพระไตรปิฎก แด่พระภิกษุสงฆ์ ก็สามารถ
สำหรับท่านที่มีความประสงค์จะถวายพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก
โดยขอใช้สถานที่ดังกล่าวกับทางศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
ท่านสามารถติดต่อขอใช้สถานที่ของทางศูนย์โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายแต่ประการใด
สามารถติดต่อกับทางศูนย์ได้ที่เบอร์ 087-696-7771, 086-461-8505
ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ตั้งอยู่ที่ ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ติดกับวัดญาณเวศกวัน
ทางศูนย์เปิดบริการให้เข้ามาเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎกแบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ 
ทั้งของ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มูลนิธิของมหามกุฏราชวิทยาลัย
เปิดบริการทุกวันตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น

สำหรับท่านที่ต้องการสั่งชุดหนังสือพระไตรปิฎกแบบครบถ้วนสมบูรณ์
ฉบับที่เป็นมาตรฐาน จัดพิมพ์โดย . . .มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ และมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
และจัดจำหน่ายในราคามูลนิธิมหาวิทยาลัย ทั้ง 2 สถานที่
โดย ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกทั่วประเทศ (ไตรลักษณ์)

 

---------------------------------------------------

สำหรับท่านที่ต้องการสั่งชุดหนังสือพระไตรปิฎกแบบครบถ้วนสมบูรณ์
ฉบับที่เป็นมาตรฐาน จัดพิมพ์โดย . . .มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ และมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
และจัดจำหน่ายในราคามูลนิธิมหาวิทยาลัย ทั้ง 2 สถานที่
โดย ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกทั่วประเทศ (ไตรลักษณ์)

 

งานป้ายอลูมิเนียม
ผลิตภัณฑ์ในห้องพระ
ชุดหนังสือถวายพระภิกษุเพื่อการศึกษา
หนังสือถวายพระภิกษุ
จำหน่ายให้เช่าบูชา พระพุทธรูปปางสมาธิ สีขาว หน้าตัก 7 นิ้ว ราคา 1999 บาท
องค์พระพุทธรูปปางสมาธิ สีขาว 1999 บาท
หนังสือ อุปปาตะสันติ มหาสันติงหลวง ราคาเล่มละ 30 บาท
หนังสือ มหาสันติงหลวง
กลุ่มหนังสือโปรโมทชั่น ที่สามารถจัดพิมพ์เพื่อทำเป็นหนังสือที่ระลึกแจก เป็นของที่ระลึกและงานอนุสรณ์
ศูนย์พิมพ์หนังสือที่ระลึก

ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกทั่วไทย

คู่มือสวดมนต์-สำหรับนักเรียนทุกระดับชั้น-ราคาเล่มละ10บาท
หนังสือสวดมนต์ นักเรียน
ศูนย์รวมหนังสือธรรมะ
ศูนย์รวมหนังสือธรรมะ
หนังสือ "ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ"
หนังสือ "ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ"
หนังสือพุทธธรรม ราคา 700บาท
หนังสือพุทธธรรมฉบับล่าสุด ราคา 700 บาท
พจนานุกรม-เพื่อการศึกษาพุทธศาสน์-ชุด-ศัพท์วิเคราะห์-ราคา750บาท
พจนานุกรมพุทธศาสน์

วิสุทธิมรรค 600 บาท

พระไตรปิฎกฉบับย่อครบสมบูรณ์ ราคา 500 บาท

อาคารบรรจุหนังสือธรรมะ จากหลายสำนักพิมพ์ มากกว่า 2500 เรื่อง จัดส่ง พัสดุทั่วไทย
VV -กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน- VV

จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า VV -กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน- VV

จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า VV -กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน- VV

จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า

 




 

 


ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ จัดส่งทั่วประเทศ ในราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน
แทรกรายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

เชิงเทียน-และงานพุทธศิลป์